รีวิว เซรามิกในบ้าน
เซรามิกในบ้าน เป็นการออกแบบอีกหนึ่งแขนงที่สามารถสร้างคุณค่าได้ด้วยตัวของงานออกแบบเองอย่างเซรามิก ที่มีเทคนิคและกระบวนการสร้างสรรค์ที่ประณีต ละเอียดละออ จนทำให้ผลงานที่สำเร็จเสร็จสิ้นออกมาสามารถแปรเปลี่ยนดินธรรมดา ให้กลายเป็นผลงานศิลปะชั้นเลิศ สร้างมูลค่า รวมถึงเพิ่มคุณค่าของดินขึ้นมาได้อย่างมากมาย และยังมาพร้อมกับความสวยงามที่มีเสน่ห์เป็นเอกลักษณ์ไม่ซ้ำใคร
ความเป็นมาของเซรามิก
ความเป็นมาของเซรามิก (ceramic) ก็คือ ศิลปะการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับดินเผา โดยมีรากศัพท์ มาจากภาษากรีก มีความหมายคือ “การนำเอาวัสดุมาผ่านการเผา” แต่ในปัจจุบันนี้ เซรามิก ไม่ใช่เพียงดิน ที่นำมาเผาจนเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ แต่ยังมีการนำเอาวัตถุดิบ ในธรรมชาติต่าง ๆ มาผสมผสานกับวัสดุหลัก (ดินเหนียว) นำมาขึ้นรูปเป็นรูปทรงต่าง ๆ วิลล่าภูเก็ตป่าสัก
เซรามิกสามารถนำมาใช้ เพื่อใช้ผลิตเป็นได้ ทั้งภาชนะ หรือ สิ่งของเครื่องใช้ เครื่องประดับต่าง ๆ และ นำมาผ่านกระบวนการเผา ที่อุณหภูมิความร้อนที่สูงเพียงพอ จนทําให้ชิ้นงาน หรือ ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น มีความแข็งแรงคงทนไม่แตกหักง่ายนั่นเอง เซรามิก จัดเป็นวัสดุที่มีประโยชน์
เป็นวัสดุที่สำคัญต่อมนุษยชาติ ตั้งแต่สมัยโบราณ จากหลักฐานการค้นคว้า มีการค้นพบหลักฐาน ว่ามีการใช้อิฐในการก่อสร้างเตาเผา เซรามิกที่ประเทศบาบิโลเนีย เอสซีเรีย และอียิปต์ นอกจากนั้น ยังมีการขุดค้นพบซาก ของเหยือกน้ำเซรามิก ที่พบว่ามีอายุถึงหมื่นปีเลยทีเดียว
ประเภทของงานเซรามิก
เอิร์ทเทนแวร์ (Earthenware)
ผลิตภัณฑ์รูปแบบ เอิร์ทเทนแวร์ เป็นหนึ่งในเซรามิก ที่ทำมาจากดิน ในแต่ละท้องถิ่น หรือ ก็คือ “ดินเหนียว” โดยสีที่ได้ จะมีสีน้ำตาลแดง เนื้อหยาบ มีรูพรุนมาก เช่น กระถางต้นไม้ เครื่องปั้นดินเผาต่าง ๆ ที่เราเคยเห็นกันอยู่บ่อย ๆ เซรามิกแบบเอิร์ทเทนแวร์ จะไม่สามารถป้องกัน การดูดซึมของน้ำได้
เซรามิกรุ้นนี้จะไม่นิยมนำมาผ่านกระบวนการเคลือบ จะนิยมโชว์สีธรรมชาติ จนกลายเป็นเสน่ห์ ในตัวของมันเอง และ ที่สำคัญเนื้อดินประเภทนี้มีความแข็งแรงต่ำแตกหักง่าย จึงทำให้ผลิตภัณฑ์ประเภทนี้มีราคาถูก
สโตนแวร์ (stoneware)
เซรามิกชนิด สโตนแวร์ หรือเป็นผลิตภัณฑ์เซรามิก ที่ทำจากเนื้อดินขาว ผสมกับหิน และ ทราย ผลิตภัณฑ์เซรามิก จำพวกนี้ส่วนใหญ่ จะเป็นสีขาวไปจนถึงสีเทา เนื้อดินมีคุณสมบัติทึบแสง มีสีต่างกันออกไป ตั้งแต่สีขาวอมเหลือง สีเทา และสีน้ำตาล
โดยมีเอกลักษณ์ที่ชัดเจน ในลักษณะเนื้อดินที่หลอม กันแน่นกว่าผลิตภัณฑ์เซรามิก ประเทภเอิร์ทเทนแวร์ เราจะเห็นผลิตภัณฑ์สโตนแวร์ได้อยู่ทั่วไป เพราะผลิตภัณฑ์เซรามิกชนิดนี้ นิยมใช้ทำข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากมีความคงทนสูง เช่น จาน ชาม แจกัน ของใช้ในบ้านต่าง ๆ โดยถ้าต้องการสีสันที่ดูสดขึ้น จะใช้เทคนิคการเคลือบ เพื่อให้เกิดความสวยงาม
พอร์ซเลน (Porcelain)
เซรามิกชนิดนี้ เป็นสถาปัตยกรรมสีขาว แห่งนี้มีชื่อว่า The Italian Pavilion ที่ตั้งเด่น เป็นสง่าอยู่ที่เมือง Derby ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย The Italian Pavilion แห่งนี้ถูกออกแบบ โดยบริษัทสถาปนิก Nemesi ซึ่งเป็นผลงาน การออกแบบที่ชนะรางวัล จากการแข่งขันการออกแบบ ระดับนานาชาติ Milan Expo โดย The Italy Pavilion แห่งนี้เป็นอาคารขนาด 6 ชั้น บนพื้นที่กว่า 14,000 ตารางเมตร
อีกในด้านหนึ่งก็ยังมีทั้งยังเป็นความท้าทาย ทางสถาปัตยกรรม และ การสร้างสรรค์ ด้วยความซับซ้อน และ นวัตกรรมในการออกแบบ วัสดุ และเทคโนโลยี ที่เลือกใช้ นอกจากนี้ตัวอาคาร ได้รับการออกแบบอย่างยั่งยืน ด้วยการใช้กระจกโซลาร์เซลล์ บนหลังคา เพื่อให้พลังงานแกตัวอาคารอีกด้วย
โดยงานเซรามิกมีความเอกลักษณ์ เนื่องด้วยงานเซรามิกล้วนมีเอกลักษณ์ ที่เฉพาะตัว อีกทั้งความพิเศษของเนื้อดินสีต่าง ๆ หลังผ่านการเผาที่มีเอกลักษณะเฉพาะตัวนี้ จึงทำให้ เหล่าดีไซน์เนอร์ เลือกที่จะนำเซรามิก มาทำการสร้างสรรค์ เป็นผลงาสนที่น่าสนใจ ตื่นตาตื่นใจมากมาย รวมไปถึงผลงานปติมากรรมด้วย จะมีผลงานอะไรที่น่าสนใจบ้าง มาดูกันค่ะ ซื้อวิลล่า ภูเก็ต
VORTEX VESSEL – Jennifer McCurdy
ปติมากรรมชิ้นนี้ เป็นประติมากรรมเซรามิกชิ้นนี้ ถูกออกแบบโดย Jennifer McCurdy ดีไซน์เนอร์สาว ที่มีแนวความคิดการออกแบบ ที่ได้มาจากการเคลื่อนไหวของธรรมชาติ เธอเลือกใช้การขึ้นรูป ด้วยแป้นหมุน ก่อนในลำดับแรก และ นำมาปรับเปลี่ยนรูปทรง ให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหวเป็นวงหมุ่นขึ้นสู่ใจกลางของชิ้นงาน
ลักษณ์ของปติมากรรมชิ้นนี้ ความพิเศษอยู่ที่การใช้ดินเนื้อสีขาวอย่างดิน พอร์ซเลน ที่ให้สีขาวนวล และ Jennifer McCurdy เลือกสร้างมิติให้กับงานประติมากรรมของเธอ ด้วยการใช้ทองคำเปลว ติดไว้ที่ด้านในของผลงาน ช่วยให้เกิดเป็นจังหวะ ที่หลอกตาเสมือนว่าแสง ที่ส่องประกายอยู่ด้านในนั้นกำลังเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา เมื่อตกกระทบกับแสงไฟ
Ceramics vessel – Zhu Ohmu
ปติมากรรมเซรามิกชิ้นนี้ เป็นผลงานการออกแบบ เซรามิกโดย Rose Wei ดีไซน์เนอร์ และ นักออกแบบ ชาวนิวซีแลนด์ หรือ ชื่อในวงการงานออกแบบของเขาคือ Zhu Ohmu ผลงานเซรามิก เหล่านี้ได้รับมาจากแรงบันดาลใจ จากตัวของ Rose Wei ที่ชื่บชอบ และ รักในการปลูกต้นไม้ จึงเริ่มออกแบบกระถา งสำหรับต้นไม้ของเขาเองด้วย การใช้เซรามิก กระถางที่มีรูปทรงโดดเด่นไม่เหมือนใครนี้
กระถางต้นไม้รูปนี้ ถูกสร้างมาจากดินสีขาว ใช้วิธีการนำดิน มาทำเป็นเส้น และ ขดขึ้นรูป โดยรูปทรงนั้น ออกแบบให้สื่อถึงความรู้สึก เหมือนกระถางกำลังละลาย และ ไหลลงไป ซึ่งถือเป็นเรื่องยากเลยทีเดียว ที่จะทำงานเซรามิก ที่ผ่านการเผาแล้วออกมา ในรูปทรงที่อ่อนโยนเช่นนี้
เป็นเรื่องที่ยากและต้องมีฝีมือในการทำมาก ๆ อีกทั้งการปั้นให้อยู่ในรูปแบบของเส้นก็เสี่ยงต่อการแตกหักระว่างการเผาอีกด้วย แต่ Rose Wei ก็สามารถเนรมิตผลงานที่น่าตื่นตาตื่นใจนี้ได้ออกมาอย่างสมบูรณ์แบบเลยทีเดียวค่ะ
Anonymous Figures Struggle Against – Claudia Fonte
ปติมากรรมเซริกตัวนี้ เป็นผลงานประติมากรรม Anonymous Figures Struggle Against ชิ้นนี้มีขนาดเล็ก เพียงเท่าฝ่ามือเท่านี้ ถูกออกแบบโดย Claudia Fonte นักออกแบบชาวอาเจนติน่า ซึ่งมีแนวคิด ที่ต้องการสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับความแตกแต่งกัน ของเชื้อชาติ เพื่อให้ผู้คนได้เข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านรูปลักษณ์
และได้เข้าใจถึงความแตกต่างด้านวัฒนธรรม เพื่อไม่ต้องการ ให้เกิดปัญหา การโดนดูถูกเหยียดหยาม อย่างที่เคยเกิดขึ้น ผลงานของเขา เลือกใช้ดินสีขาว ที่ช่วยสร้างความรู้สึกที่บริสุทธิ์ และจริงใจ มีการสร้างพื้นผิวที่แตกต่างกัน เพื่อเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์นั่นเอง ทาวน์โฮม 4 ชั้น